Tip |
---|
Things that user must KNOW/DONE before follow this instruction. |
Table of Contents | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
|
...
1. Heading 2
1.1. Heading 3
เปิดโปรแกรม terminal ที่ computer ของผู้ใช้งาน จากนั้นระบุคำสั่ง
Code Block |
---|
$ ssh -J <username>@tara.nstda.or.th \
-L <local-port>:localhost:<application-port> \
-vN <username>@<tara-X-XXX> |
โดย xxxxxxxxxx
...
1.2. Heading 3
ตัวอย่างการ link ไปที่เอกสารอื่น (เตรียม R library ที่ต้องการใช้งานให้พร้อมโดยสามารถดูได้จาก Programming language (R, Python, Perl))
ปัญหาที่อาจจะพบ
...
Error message
channel_setup_fwd_listener_tcpip: cannot listen to port: 8888
Could not request local forwarding.
วิธีแก้ไข
เปลี่ยนค่า <local-port>
เป็นค่าอื่น เช่นเปลี่ยนจาก 8888 เป็น 8889 แทน
คำอธิบาย
ปัญหานี้เกิดจาก <local-port>
ที่ user ระบุมีการใช้งานอยู่ในขณะเดียวกันนี้จาก application อื่น เช่น database, Jupyter Notebook, หรือ SSH เป็นต้น จึงไม่สามารถใช้งาน port ซ้อนทับในเวลาเดียวกันได้
2. Heading 2
2.1. Heading 3
Related articles
Filter by label (Content by label) | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
...
hidden | true |
---|
...
Excerpt | ||||
---|---|---|---|---|
| ||||
วิธีการติดตั้ง WRF model พื้นฐาน เหมาะสำหรับการพยากรณ์อากาศ เช่น อุณหภูมิ ลมและฝน เบื้องต้น |
การติดตั้งโปรแกรมหลักของ Weather Research and Forecasting (WRF) มีขั้นตอนดังนี้
Note |
---|
ต้องใช้หน้าต่างเดียวกันเท่านั้น (ไม่เช่นนั้นต้องทำขั้นตอน 1 และ 3 ใหม่ทุกรอบ) |
Table of Contents | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
|
...
1. Load required modules
ทำการล้างโมดูลที่โหลดไว้ก่อนหน้าทั้งหมด แล้วโหลดโมดูลที่ WRF จำเป็นต้องใช้ โดยใช้คำสั่ง
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
module purge
module load netCDF-Fortran/4.5.2-iimpi-2019b
module load libpng/1.6.37-GCCcore-8.3.0
module load JasPer/1.900.1-intel-2019b # (MUST) JasPer version <2.0 |
Info |
---|
These dependencies should be compiled with the same set of compilers. |
2. Download WRF source code
ดาวน์โหลด WRF เวอร์ชั่นล่าสุดจาก GitHub มายัง Directory ปัจจุบัน
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
wget https://github.com/wrf-model/WRF/releases/download/v4.4/v4.4.tar.gz
tar xzf v4.4.tar.gz
ln -s WRFV4.4/ WRF
rm v4.4.tar.gz |
Info |
---|
For older version, check the WRF stable branches on the GitHub repository and its official website. |
3. Set environment variables
ทำการตั้งค่า Environment variables โดยใช้คำสั่งซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
export WRF_EM_CORE=1 # Explicitly select ARW core developed by NCAR
export WRF_NMM_CORE=0 # Not NMM core
export WRF_DA_CORE=0 # Not WRFDA
export WRF_CHEM=0 # Not WRF-Chem
export NETCDF=${EBROOTNETCDFMINFORTRAN:-${EBROOTNETCDF}} # Required
export HDF5=${EBROOTHDF5} # To enable HDF5 (Optional)
export JASPERINC=$EBROOTJASPER/include # For GRIB2 IO (Optional)
export JASPERLIB=$EBROOTJASPER/lib # For GRIB2 IO (Optional)
export WRFIO_NCD_LARGE_FILE_SUPPORT=1 # Enable large file support (Optional)
### Common mistake :: insert spaces before or after = |
4. Enable GRIB2 IO (Optional)
Note |
---|
Must set JASPERINC and JASPERLIB in Step 3 |
แก้ไขไฟล์ Config.pl ในโฟลเดอร์ ./WRF/arch ด้วย Text editor เช่น nano, vi
ทำการเปลี่ยนบรรทัด $I_really_want_to_output_grib2_from_WRF จาก "FALSE" ให้เป็น "TRUE"
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
nano ./WRF/arch/Config.pl
# Change $I_really_want_to_output_grib2_from_WRF = "FALSE" ;
# to $I_really_want_to_output_grib2_from_WRF = "TRUE" ; |
Expand | ||
---|---|---|
| ||
|
5. Set configure file
5.1 Run ./configure
ใช้คำสั่ง ./configure ขณะอยู่ในโฟลเดอร์ WRF
พิมพ์เลข 20 แล้วกด Enter เพื่อเลือกการคำนวณขนานแบบ Distributed memory (dmpar) ด้วย INTEL (ifort/icc): Xeon (SNB with AVX mods)
พิมพ์เลข 1, 2 หรือ 3 แล้วกด Enter เพื่อเลือกระบบ Nesting โดย
1 (Basic/Static) จะกำหนดให้ตำแหน่งของ Nested/Child domains ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ [แนะนำ]
2 (Present moves) จะสามารถใช้ชุดคำสั่งกำหนดการเคลื่อนที่ของ Nested/Child domains ได้
3 (Vortex following) จะปรับตำแหน่ง Nested/Child domains ตามจุดศูนย์กลางพายุซึ่งคำนวณจาก Mean sea level pressure และลมระดับพื้นผิว (เหมาะสำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นชัดเจนแล้วเท่านั้น)
ตรวจสอบ Options/Compiler flags ที่แสดง
(ใช้คำสั่ง ./clean -a ก่อน ถ้าหากต้องเริ่ม configure ใหม่)
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
cd ./WRF
./configure
# Type 20, then press Enter <-- (dmpar) INTEL (ifort/icc): Xeon (SNB with AVX mods))
# Type 1, then press Enter <-- Basic nesting (mostly) |
5.2 Edit configure.wrf
แก้ไขไฟล์ configure.wrf ในโฟลเดอร์ WRF ด้วย Text editor เช่น nano, vi
ทำการเปลี่ยนจาก DM_FC = mpif90 -f90=$(SFC) เป็น DM_FC = mpiifort -f90=$(SFC)
ทำการเปลี่ยนจาก DM_CC = mpicc -cc=$(SCC) เป็น DM_CC = mpiicc -cc=$(SCC)
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
nano configure.wrf
# Change DM_FC = mpif90 -f90=$(SFC) to DM_FC = mpiifort -f90=$(SFC)
# Change DM_CC = mpicc -cc=$(SCC) to DM_CC = mpiicc -cc=$(SCC) |
Expand | ||
---|---|---|
| ||
|
6. Compile WRF
เริ่มทำการติดตั้ง WRF โดยบันทึกการแจ้งต่างๆลงในไฟล์ compile.wrf.log ด้วย (ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงบน TARA front-end)
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
./compile em_real 2>&1 | tee compile.wrf.log |
7. Check
ใช้คำสั่ง ls -ls ./main/*.exe เพื่อตรวจหา ndown.exe, real.exe, tc.exe และ wrf.exe
Code Block | ||
---|---|---|
| ||
ls -ls ./main/*.exe
# Check if ndown.exe, real.exe, tc.exe and wrf.exe are present |
NEXT: WPS and Duplicate ./test/em_real
...
Contact Us
ThaiSC support service : thaisc-support@nstda.or.th